เข้าสู่ระบบ
แบบทดสอบ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
เกณฑ์สอบแข่งขัน (ตามหนังสือ ก.ค.ศ. ที่ ศธ. 0206.6/ว15 ลงวันที่ 1 พฤษภาคม 2566)

*แบบทดสอบชุดนี้สำหรับ VIP เท่านั้น
(หากต้องการใช้งานประเภท VIP
อัพเกรดแพ็กเกจที่นี่
)

ภาค ก. (ความรู้ความสามารถทั่วไป)

ความสามารถในการคิดวิเคราะห์

การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร การจับใจความสำคัญ การสรุปความ การคิดหาความสัมพันธ์เชื่อมโยงคำ ข้อความหรือรูปภาพ ตลอดจนหาข้อสรุปอย่างสมเหตุผลความเข้าใจความคิดรวบยอด และการแก้ไขปัญหาทางคณิคศาสตร์ การเปรียบเทียบและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ

ทักษะภาษาอังกฤษ

เพื่อวัดความเข้าใจในหลักการสื่อสารโดยใช้คำศัพท์ สำนวน โครงสร้างประโยคที่เหมาะสมทั้งในเชิงความหมายและบริบทแสดงถึงความสามารถในการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ การวัดความสามารถในการอ่านโดยทดสอบการทำความเข้าใจในสาระของข้อความหรือบทความและการวัดความสามารถทางด้านการเขียนภาษาอังกฤษในระดับเบื้องต้น

ความรู้และลักษณ์การเป็นข้าราชการที่ดี

มีความร้ความเข้าใจในกฎหมาย บทบาทหน้าที แนวคิดเกียวกับพฤติกรรมข้าราชการ สามารถอธิบายคุณลักษณะทีดีของข้าราชการยุคใหม่ และนําแนวทางของพระบรมราโชวาทฯ มาใช้ในการ ปฏิบัติงาน มีความเข้าใจเกียวกับการคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วน ตนกับผลประโยชน์ส่วนรวมและนํามาใช้ได้อย่างถูกต้อง


ภาค ข. (มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ)

มาตรฐานความรู้ทั่วไปในการจัดการเรียนการสอน

ทดสอบโดยวิธีการสอบข้อเขียนแบบปรนัย เพื่อวัดความรู้พื้นฐานของการเป็นข้าราชการที่ดี

มาตรฐานความรู้ในเนื้อหาวิชาที่สอน

*วิชาที่สอน (วิชาเอก)

ความรอบรู้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานและแนวทางการปฏิรูปการศึกษา

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานและแนวทางการปฏิรูปการศึกษา (ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ)





ภาค ก. (ความรู้ความสามารถทั่วไป)

ความสามารถในการคิดวิเคราะห์
การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร การจับใจความสำคัญ การสรุปความ การคิดหาความสัมพันธ์เชื่อมโยงคำ ข้อความหรือรูปภาพ ตลอดจนหาข้อสรุปอย่างสมเหตุผลความเข้าใจความคิดรวบยอด และการแก้ไขปัญหาทางคณิคศาสตร์ การเปรียบเทียบและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ

การคิดวิเคราะห์เชิงภาษา


การคิดวิเคราะห์เชิงนามธรรม


การคิดวิเคราะห์เชิงปริมาณ


ทักษะภาษาอังกฤษ
เพื่อวัดความเข้าใจในหลักการสื่อสารโดยใช้คำศัพท์ สำนวน โครงสร้างประโยคที่เหมาะสมทั้งในเชิงความหมายและบริบทแสดงถึงความสามารถในการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ การวัดความสามารถในการอ่านโดยทดสอบการทำความเข้าใจในสาระของข้อความหรือบทความและการวัดความสามารถทางด้านการเขียนภาษาอังกฤษในระดับเบื้องต้น

Conversation

การสนทนา เป็นการสื่อสารโต้ตอบโดยเน้นที่การปฏิสัมพันธ์ระหว่างการสนทนาโดยเฉพาะ
Grammar and Structure

กฎเกณฑ์ของภาษา และโครงสร้างประโยคพื้นฐานในภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นเนื้อหาที่มีความสำคัญในการทำความเข้าใจบริบท องค์ประกอบ หน้าที่ และการสื่อความหมายของประโยคในภาษาอังกฤษ
Vocabulary

พื้นฐานทางด้านคำศัพท์ภาษาอังกฤษพื้นฐาน
Reading

การอ่านบทความหรือการอ่านเพื่อจับใจความสำคัญของบทความ
Error dictation

การตรวจสอบข้อผิดพลาดของประโยค บทสนทนาหรือบทความ
ความรู้และลักษณ์การเป็นข้าราชการที่ดี
มีความร้ความเข้าใจในกฎหมาย บทบาทหน้าที แนวคิดเกียวกับพฤติกรรมข้าราชการ สามารถอธิบายคุณลักษณะทีดีของข้าราชการยุคใหม่ และนําแนวทางของพระบรมราโชวาทฯ มาใช้ในการ ปฏิบัติงาน มีความเข้าใจเกียวกับการคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วน ตนกับผลประโยชน์ส่วนรวมและนํามาใช้ได้อย่างถูกต้อง

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน


พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี


พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง


พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม


พระราชบัญญัติความรับผิดละเมิดของเจ้าหน้าที่


ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 ในส่วนของความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ


ภาค ข. (มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ)

มาตรฐานความรู้ทั่วไปในการจัดการเรียนการสอน
ทดสอบโดยวิธีการสอบข้อเขียนแบบปรนัย เพื่อวัดความรู้พื้นฐานของการเป็นข้าราชการที่ดี

การเปลี่ยนแปลงบริบทของโลก สังคม และแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง


จิตวิทยาการพัฒนาการ จิตวิทยาการศึกษา และจิตวิทยาการให้คำปรึกษาในการวิเคราะห์และพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ


หลักสูตร ศาสตร์การสอน และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้


การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้และการวิจัยเพื่อการแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน


การออกแบบและการดำเนินการเกี่ยวกับงานประกันคุณภาพการศึกษา

การปฏิบัติภารกิจหลักอย่างมีระบบตามแบบแผนที่กำหนดไว้ จนทำให้เกิดความมั่นใจในคุณภาพและมาตรฐานของดัชนี ชี้วัด
มาตรฐานความรู้ในเนื้อหาวิชาที่สอน
*วิชาที่สอน (วิชาเอก)

ความรอบรู้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานและแนวทางการปฏิรูปการศึกษา
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานและแนวทางการปฏิรูปการศึกษา (ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ)

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ที่บังคับใช้ในปัจจุบัน


แนวทางการปฏิรูปการศึกษาที่บังคับใช้ในปัจจุบัน






การคิดวิเคราะห์เชิงภาษา

การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

ความเข้าใจในการอ่านภาษาไทย

การจับใจความสำคัญ/สรุปความ/การตีความจากบทความ

การคิดวิเคราะห์เชิงนามธรรม

การหาความสัมพันธ์เชื่อมโยงคำ/ข้อความ/รูปภาพ

การหาข้อสรุปอย่างสมเหตุสมผล

การคิดวิเคราะห์เชิงปริมาณ

การแก้ไขปัญหาทางคณิตศาสตร์เบื้องต้น

การเปรียบเทียบและวิเคราะห์ข้อมูล

การเปลี่ยนแปลงบริบทของโลก สังคม และแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง

สังคมเศรษฐกิจการเมืองและเหตุการณ์บ้านเมืองปัจจุบัน

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

วัฒนธรรมไทย และขนบธรรมเนียมประเพณีไทย

อาเซียน (ASEAN)

จิตวิทยาการพัฒนาการ จิตวิทยาการศึกษา และจิตวิทยาการให้คำปรึกษาในการวิเคราะห์และพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ

จิตวิทยาทางการศึกษาและการแนะแนว

หลักสูตร ศาสตร์การสอน และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้

หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร

หลักการสอนที่เน้นการสอนคิดวิเคราะห์และการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

การบริหารจัดการชั้นเรียน

สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้และการวิจัยเพื่อการแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน

การพัฒนาผู้เรียน

การวัดและการประเมินผลการศึกษา

การวิจัยทางการศึกษา

การออกแบบและการดำเนินการเกี่ยวกับงานประกันคุณภาพการศึกษา

งานประกันคุณภาพการศึกษา

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ที่บังคับใช้ในปัจจุบัน

รัฐธรรมนูญและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอน

กฎหมายว่าด้วยการศึกษาภาคบังคับ

กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ

กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

กฎหมายว่าด้วยสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา

กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ

กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเด็ก

กฎหมายว่าด้วยการศึกษาปฐมวัย

พรบ. พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา

แนวทางการปฏิรูปการศึกษาที่บังคับใช้ในปัจจุบัน

ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี

แผนการศึกษาแห่งชาติ

นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ